บันทึกอนุทิน
วิชา การจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
อารจารย์ผู้สอน อ.กฤต แจ่มถิน
ประจำวัน จันทร์ที่ 7 กันยายน 2558
เรียนครั้งที่ 3 เวลา 08.30 -12.30 น.
กลุ่ม 101 ห้อง 223
- ทำกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรม "ไร่สตอเบอรี่"
1. เมื่อเห็นสตอเบอรี่อยู่ต่อหน้า น่ากินมากๆแต่มีสิ่งกีดขวางคือรั้วล้อมรอบ นักศึกษาคิดว่าจะเป็นรั้วเเบบไหนและสูงเท่าไร
2. ถ้าได้เข้าไปในไร่สตอเบอรี่แล้ว จะหยิบสตอเบอรี่กินกี่ลูก
3. ในขณะที่เรากินอยู่ เจ้าของเห็นเรากินสตอเบอรี่พอดี เราจะเเก้ตัวอย่างไร
4. รู้สึกอย่างไรเมื่อเดินออกจากไร่สตอเบอรี่
- ทบทวนเพลง Incy wincy spider และเพลง I love you you love me
- ร้องเพลงใหม่ เพลง London Bridge is falling down
ผลงานของฉัน
- สีชมพู มาจากดอกเฟื่องฟ้า
- สีเขียว มาจากใบไม้
- สีน้ำตาล มาจากดิน
- สีเหลือง มาจากดอกไม้
นำเสนองาน
Knowledge (ความรู้)
- ทำกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรม "ไร่สตอเบอรี่"
1. เมื่อเห็นสตอเบอรี่อยู่ต่อหน้า น่ากินมากๆแต่มีสิ่งกีดขวางคือรั้วล้อมรอบ นักศึกษาคิดว่าจะเป็นรั้วเเบบไหนและสูงเท่าไร
2. ถ้าได้เข้าไปในไร่สตอเบอรี่แล้ว จะหยิบสตอเบอรี่กินกี่ลูก
3. ในขณะที่เรากินอยู่ เจ้าของเห็นเรากินสตอเบอรี่พอดี เราจะเเก้ตัวอย่างไร
4. รู้สึกอย่างไรเมื่อเดินออกจากไร่สตอเบอรี่
- ทบทวนเพลง Incy wincy spider และเพลง I love you you love me
- ร้องเพลงใหม่ เพลง London Bridge is falling down
London Bridge is falling down
การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เด็กปฐมวัย
"...ความคิดสร้างสรรค์ไม่สามารถบังคับให้เกิดขึ้นได้ แต่สามารถส่งเสริมให้เกิดขึ้นได้..."
แนวคิดทฤษฎีทางความคิดสร้างสรรค์
แนวคิดและทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญาของ Guilford
อธิบายความสามารถของสมองมนุษย์เป็นแบบจำลอง 3 มิติ
มิติที่ 1 : เนื้อหา (ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)
- ภาพ (สิ่งที่เห็น)
- สัญลักษณ์ (สิ่งที่แทนความหมาย)
- ภาษา (การสื่อสาร)
- พฤติกรรม (สิ่งที่แสดงออกมา)
- สัญลักษณ์ (สิ่งที่แทนความหมาย)
- ภาษา (การสื่อสาร)
- พฤติกรรม (สิ่งที่แสดงออกมา)
มิติที่ 2 : วิธีคิด (กระบวนการทำงานของสมอง)
- การรู้และเข้าใจ
- การจำ
- การคิดแบบอเนกนัย (คิดคำตอบให้เยอะ ในโจทย์เดียว)
- การคิดแบบเอนกนัย (หาคำตอบที่ดีที่สุด)
- การประเมินค่า
- การจำ
- การคิดแบบอเนกนัย (คิดคำตอบให้เยอะ ในโจทย์เดียว)
- การคิดแบบเอนกนัย (หาคำตอบที่ดีที่สุด)
- การประเมินค่า
มิติที่ 3 : ผลของการคิด (การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
- หน่วย (ของเป็นชิ้นๆ หรือ หน่วยการเรียน เช่น หน่วยสัตว์ หน่วยผลไม้)
- ระบบ เช่น 1 3 5 7 9 หรือ 2 4 6 8 10
- จำพวก
- การแปลงรูป เช่น จากรูปสี่เหลี่ยม สามารถเปลี่ยนไปเป็นรูปไรได้บ้าง
- ความสัมพันธ์ (สิ่งที่สัมพันธ์กัน)
- การประยุกต์ (มองสิ่งที่เห็นอยู่ ให้เปลี่ยนใจ)
- ระบบ เช่น 1 3 5 7 9 หรือ 2 4 6 8 10
- จำพวก
- การแปลงรูป เช่น จากรูปสี่เหลี่ยม สามารถเปลี่ยนไปเป็นรูปไรได้บ้าง
- ความสัมพันธ์ (สิ่งที่สัมพันธ์กัน)
- การประยุกต์ (มองสิ่งที่เห็นอยู่ ให้เปลี่ยนใจ)
ทฤษฎี Constructivism (เรียนรู้ด้วยตนเอง)
- เด็กเรียนรู้เอง
- เด็กคิดเอง
- ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
- เด็กคิดเอง
- ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
ทฤษฎีของ Torrance (การแก้ไขปัญหา)
- ขั้นที่ 1 การพบความจริง
- ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญญา
- ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
- ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
- ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
- ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญญา
- ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
- ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
- ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
บรรยาการที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
- เด็กรู้สึกปลอดภัย
- ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
- ให้ความสนใจเด็ก
- ได้สำรวจ ค้นคว้า และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
- ไม่มีการแข่งขัน
- ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
- ให้ความสนใจเด็ก
- ได้สำรวจ ค้นคว้า และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
- ไม่มีการแข่งขัน
ลักษณะของเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
- มีไหวพริบ
- มีอารมณ์ขัน
- กล้าแสดงออก ,มั่นใจในตัวเอง
- มีสมาธิ
- อยากรู้อยากเห็น
- ซาบซึ้นงกับสุนทรียภาพ
- ช่างสังเกต
- ชอบสร้าางแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่
- มีความวิจิรตพิสดาร
- ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
- มีอารมณ์ขัน
- กล้าแสดงออก ,มั่นใจในตัวเอง
- มีสมาธิ
- อยากรู้อยากเห็น
- ซาบซึ้นงกับสุนทรียภาพ
- ช่างสังเกต
- ชอบสร้าางแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่
- มีความวิจิรตพิสดาร
- ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะของกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้ 3 ลักษณะ
- ลักษณะที่ 1 ความไม่สมบูรณ์ การเปิดกว้าง
(Incompleteness,Openness) ไม่ปิด ไม่ตีกรอบ
- ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
(Producing Something and Using it )
- ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก
(Using Pupil Question)
(Incompleteness,Openness) ไม่ปิด ไม่ตีกรอบ
- ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์
(Producing Something and Using it )
- ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก
(Using Pupil Question)
แนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ Torrance
- ส่งเสริมให้เด็กถาม
- เอาใจใส่ความคิดของเด็ก
- ยอมรับคำตอบของเด็ก
- ชี้แนะให้เด็กกหาคำตอบด้วยตนเอง
- แสดงให้เด็กเห็นความคิดของเด็กมีคุณค่า
- เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรุ้อยู่เสมอ
- ค่อยเป็นค่อยไป
- ยกย่องชมเชย
- ไม่มีการวัดผล
- เอาใจใส่ความคิดของเด็ก
- ยอมรับคำตอบของเด็ก
- ชี้แนะให้เด็กกหาคำตอบด้วยตนเอง
- แสดงให้เด็กเห็นความคิดของเด็กมีคุณค่า
- เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรุ้อยู่เสมอ
- ค่อยเป็นค่อยไป
- ยกย่องชมเชย
- ไม่มีการวัดผล
การตั้งคำถาม 5 W 1 H
- who ใคร
- what อะไร
- where ที่ไหน
- when เมื่อไหร่
- why ทำไม
- how อย่างไร
- what อะไร
- where ที่ไหน
- when เมื่อไหร่
- why ทำไม
- how อย่างไร
ทำกิจกรรมวาดภาพจากสีที่ได้จากธรรมชาติ
- ใบไม้
- ดิน
- ดอกไม้
- ดิน
- ดอกไม้
ผลงานของฉัน
สีที่ได้ คือ
- สีน้ำเงิน มาจากดอกอัญชัน- สีชมพู มาจากดอกเฟื่องฟ้า
- สีเขียว มาจากใบไม้
- สีน้ำตาล มาจากดิน
- สีเหลือง มาจากดอกไม้
นำเสนองาน
Teach Techniques (เทคนิคการสอน)
- เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
- ให้ผู้เรียนได้ลงมือกระทำ
- ใช้คำถามในกรากระตุ้นผู้เรียน
Application (การประยุกต์ใช้)
นำความรู้่ไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนและกิจกรรมเพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์และฝึกการใข้กล้ามเนื้อเล็กให้มีความเเข็งเเรง โดยเน้นให้เด็กลงมือทำด้วยตนเอง
The skills (ทักษะที่ได้)
- ทักษะการทำงานเป็นกลุ่ม
- ทักษะการสร้างสรรค์
Teaching Evaluation (ประเมินการสอน)
self : มาเรียนตรงเวลาตั้งใจเรียนเข้าใจในเนื้อหาที่อาจารย์สอน
Friends : มาเรียนตรงเวลาแต่มีเพื่อนบ้างคนที่มาสายให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมในห้องเรียน
Teachers : เข้าสอนตรงเวลาแต่งกายสุภาพ สอนเข้าใจง่าย สนุก น้ำเสียงน่าฟัง
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น